คือ TAYAWON

0 Comments
TAYAWON เป็นสบู่ที่ใช้วิธีผลิตในแบบดั้งเดิม คือนำน้ำด่างมาผสมกับน้ำมันในอัตราส่วนที่คำนวณแล้วว่าน้ำด่างและน้ำมันทำปฏิกริยากันพอดีและไม่มีสภาพความเป็นด่างเหลืออยู่แล้ว.

และที่นอกเหนือจากนี้เรายังเพิ่มปริมาณน้ำมันเพื่อคงความชุ่มชื้นไว้ในผิว. TAYAWON ได้แรงบันดาลใจจากงานวิจัยเรื่อง " Epidermal and dermal effects of topical lactic acid" ใน Journal of the American Academy of Dermatology, Volume 35,Issue 3,Pages 388-391 Walter P Smith.

บทสรุปจากงานวิจัยทำให้เรารู้ว่า ปริมาณ ของ Lactic acid หรือจะเรียกว่า กรดน้ำนม ที่จัดอยู่ในจำพวก เดียวกับ AHA.
             AHA (เอเอชเอ) ย่อมาจากคำว่า alpha hydroxy acid หมายถึงสารประกอบที่มีฤทธิ์เป็น กรด เป็นสารที่สกัดจากผลไม้ธรรมชาติ เช่น กรด ซิตริกจากมะนาว ส้ม และส้มโอ กรดมัลลิกจาก แอปเปิ้ล กรดไกลโคลิกจากอ้อย กรดแล็กติกจาก นมเปรี้ยว กรดทาร์ทาลิกจากมะขาม และไวน์.ที่จริงเรื่องของกรดผลไม้ไม่ใช่สิ่งที่ค้นพบใหม่ แต่มีมานานเป็นพันปีแล้ว อย่างในประวัติศาสตร์สมัยพระนางคลีโอพัตรา ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้หญิงที่สวยที่สุด ก็จะอาบน้ำนม (ซึ่งมีกรดแล็กติก) โดยช่วยให้ผิวพรรณผุดผ่อง หรืออีกตัวอย่างที่เราเคยได้ยินได้ฟังมาคือ พระนางมารีอังตัวเนส พระราชินีในสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ที่ชอบเอาไวน์แดงมาอาบเพื่อให้ผิวสวย ปัจจุบันเอเอชเอหรือกรดผลไม้ นิยมใช้กันมากในวงการแพทย์ผิวหนัง เพื่อใช้รักษาสิว ฝ้า รอยด่างดำ ริ้วรอยเหี่ยวย่น และติ่งเนื้อเล็กๆ บริเวณใบหน้าและลำคอ.
       lสามารถหาอ่านเพิ่มเติมได้ใน  https://www.doctor.or.th/article/detail/2694 
ย้อนกลับมาที่กรดน้ำนมกรดแล็กติก หรือ กรดน้ำนม เป็นสารประกอบทางเคมีซึ่งมีบทบาทในกระบวนการทางชีวเคมี แยกได้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1870 โดย คาร์ล วิลเฮล์ม ซีลเลอ นักเคมีชาวสวีเดน. กรดแล็กติก เป็นกรดคาร์บ็อกซิลิก มีสูตรเคมีดังนี้ C2H4OHCOOH .กรดแล็กติกถูกจัดอยู่ในประเภทเดียวกันกับกรด AHA เพราะมีหมู่ไฮดรอกซิลติดกับหมู่คาร์บอกซิลนั่นเอง.
Ball-and-stick model of L-lactic acidSkeletal formula of L-lactic acid

อ้างอิงจาก
  1.  Dawson, R. M. C. et al., Data for Biochemical Research, Oxford, Clarendon Press,1959


You may also like

ไม่มีความคิดเห็น:

ขับเคลื่อนโดย Blogger.

Featured post

Handmade Soap TAYAWON คุณสมบัติของน้ำมัน ว่าด้วย Lauric Acid

น้ำมันที่ใช้ในการทำสบู่ตามปฏิกริยา "Saponification Reaction "มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันแต่ต่างกันที่ปริมาณของสารที่ส่งผลต่อค...

top social


Home Ads

designcart

Advertisement

Text Widget

About me

ฟอร์มรายชื่อติดต่อ

ชื่อ

อีเมล *

ข้อความ *

Powered By Blogger

Labels

Instagram

Facebook

Ads

Ad Banner
Responsive Ads Here

Blogroll

recentposts

Instagram